ภาคีเครือข่ายขนส่งมวลชนทุกคนต้องขึ้นได้ (T4A)จัดประชุมหารือความร่วมมือในหัวข้อ“เมืองยูดี เดินได้ เดินดี มีรถไฟฟ้า”
เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2563 เวลา 13.30 -16.30 น. ที่ผ่านมา ณ.อาคารสุขภาวะ ห้อง 501 ชั้น 5 ซอยงามดูพลี ถนนพระราม4เป็นกิจกรรมภายใต้ “โครงการพัฒนาและปรับปรุงเส้นทางตัวอย่างเพื่อยกระดับการเข้าถึงของคนทุกกลุ่ม”มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับการเข้าถึงขนส่งสาธารณะของคนพิการและประชาชนทุกกลุ่มในประเทศไทยสนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ดร.สิงห์คำ มณีจันสุข นายกสมาคม คนพิการจังหวัดสมุทรปราการ นายปราโมทย์ ธรรมสโรช ประธานฝ่ายการศึกษา เป็นตัวเแทนสมาคมสภาคนพิการทุกประเภทแห่งประเทศไทย นายชีวานนท์ พรรัตน์ธนิกกุล นายกสมาคมสหพันธ์แรงงานคนพิการไทย เข้าร่วมประชุม สสส. ส่งเสริมให้สุขภาวะที่ดีขึ้น สถานที่ วัด ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้จริง ก็มีการปรับสถานที่ เช่น วัดโพธิ์ สายด่วน 1479 ได้สะท้อนในเรื่องอุปสรรคสำหรับคนพิการ ปัญหาร่วมกัน เป็นปัญหาการเดินทาง ก็เสนอในเรื่องควรทำเร่งด่วน และเรื่องเสริมในภาพรวมในการเดินทาง สำรวจทุกระบบ แต่เรื่องไฟฟ้าจะมีเรื่องที่ติดกระแส การพัฒนาแกนนำเครือข่ายการเฝ้าระวังการปรับสภาพบ้านสำหรับคนพิการการ
-สนับสนุนส่วนช่างชุมชนและครูช่าง การเผยแพร่ชุมชน
– สถานที่สาธารณะ
– พื้นที่อื่น ๆ ในการปรับสภาพบ้าน
– การเดินทาง
– การปรับเปลี่ยนรถสาธารณะ ให้คนทุกคนเข้าถึงได้
การแนะนำโครงการ
กิจกรรมย่อย คือเมืองยูดี เดินได้ เข็นดี มีรถไฟฟ้า เป็นโครงการที่ทำให้การเดินทางไร้รอยต่อ ในเรื่องรถไฟฟ้าก็มีปรับสภาพได้ดีขึ้นมาก คนพิการจะต้องสามารถเดินทางไปได้ทุกที่ การปรับสภาพในการเดินทางมากขึ้นคนพิการก็ไปได้ทุกที่ ก็จะเกิดการจับจ่ายใช้สอย T4A รวมตัวกันนานมาก เริ่มปี 2538 เริ่มจากการสร้างรถไฟฟ้า BTS ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในปี 1995 ผ่านไป 25 ปี ทำให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกในรถไฟฟ้ามากขึ้น จนถึงปี 2020
– การผลักดันให้เกิดรถเมย์ชานต่ำ เข้าร่วมTOR ในช่วงแรก ๆ
– กิจกรรม 5 ย่าน เมืองยูดี เดินได้ เข็นดี มีรถไฟฟ้า คือ
– 1. ย่านปากเกร็ด รถสายสีชมพู ย่าน
– 2. ย่านโชคชัยสายสีเหลือง 4 ย่านของกินดี
– 3. ย่านรัชดา สายสีม่วง
– 4. ย่านอนุสาวรีย์ฯ สายสีเขียว
– 5. ย่านปากน้ำ สายสีเขียว
เสนอขอให้มีแนวร่วม ขอความร่วมมือเพื่อผลักดัน ความคาดหวังในการจัดงาน
1. ขอแนวร่วมในส่วนงบประมาณเพื่อปรับบริเวณที่ต้องปรับ
2. เรื่องสถาบันการศึกษา เพื่อมาร่วมออกแบบในส่วนความช่วยเหลือ
3. เจ้าภาพหลักแต่ละพื้นที่
มี 4 ลักษณะสำคัญของเมืองยูดี เดินได้ เข็นดี มีรถไฟฟ้า
– อยู่ใกล้สถานีรถไฟฟ้า ในรัศมีไม่เกิน 1.5 กิโลเมตร
– ทางเท้าต้องดี ไม่มีสิ่งกีดขวาง มีทางลาดที่ได้มาตรฐาน
– ต้องมีจุดข้ามถนนที่ปลอดภัย มีปุ่มให้หยุดรถ
– ต้องมีสถานที่สำคัญที่ทุกคนเข้าถึงได้ เช่นสถานที่ราชการ สถานการศึกษา
ผลตอบรับ ที่สนใจที่สุด
1. ย่านโชคชัย 4 มีที่ตั้งรถไฟฟ้าสายสีเหลือง มี มูลนิธิเพื่อเด็กพิการและสวนบำบัด ตลาดสะพานสอง ตลาดโชคชัย 4 ดูสถานที่จริง สังเกตการจุดตั้งลิฟต์ จัดระเบียบรถในตลาด
2. ปากน้ำ สังเกตการณ จุดตั้งลิฟต์ จัดทำทางลาด การจัดสรร จัดการหรือปรับปรุงพื้นที่ทางเดินเท้าที่ปลอดภัย การจัดระเบียบทางเท้าสำหรับชมเมือง ตลาดทางเท้าชุมชน
3. ย่านปากเกร็ด สถานีใกล้เคียง เห็นควรทำสกายวอล์ก แก้ปัญหาการข้ามถนนของคนพิการและผู้สูงอายุ จุดข้ามถนน ของคนพิการในปัจจุบัน แนวคิดการออกแบบสกายวอล์กต้นแบบ Universal Desing สวนและพื้นที่สีเขียว
4. ย่านรัชดา ย่านช้อปปิ้ง มีทางแยกตรงเทียนร่วมมิตร
5. ย่านอนุสาวรีย์ มีรถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อนเพิ่ม ข้อสังเกต พัฒนาพื้นที่ในบริเวรนี้ ให้มีลิฟต์ในส่วนฝั่งพหลโยธิน การเสริมการออกแบบทางลาดเพิ่มสำหรับคนพิการ เสริมการออกแบบ จำลองภาพทางลาดเพื่อปรับ มห้มีความสะดวกและปลอดภัย มีส่วนแยกตึกชัยสมรภูมิ ขอแนวร่วม สภาคนพิการ พก. APCD แนวทางการพัฒนาระยะเวลา 5 ปี
Thailand Cultural Center Sky Parkแนวคิดการทำ Sky Parkเหตุผลของเพื่อพักผ่อนหย่อนใจ
นายปราโมทย์ ธรรมสโรช เรื่องรถไฟฟ้าไม่หวง ต้องแต่การออกแบบมีมาตรฐาน สภาดูแล 7 ประเภทความพิการ เพิ่มความพิการประจักษ์ และไม่ประจักษ์ มีทางการเห็น และการเคลื่อนไหว เพิ่มสิ่งอำนวยความสะดวก เพิ่ม ในส่วน หู สติปัญญา ออทิสติก เพิ่มป้ายแสดงเพื่อแสดง สถานี เรื่องตัวอักษรวิ่ง สัญญาณไฟฟ้า สื่อโฆษณา เพื่อศึกษาระเบียบขั้นตอน ในเรื่องรายละเอียด ส่วนที่ 2 ลงสถานี ในส่วน สถานีปากน้ำ เป็นเมืองที่ต่ำกว่าน้ำทะเล มีฝนตกแล้วมีน้ำท่วมขัง ต้องเสริมจุด ที่ปากน้ำมีคนอยู่เยอะชาวต่างชาติอยู่เยอะ ทั้ง 5 จุด สภาคนพิการเข้าร่วมทั้งหมด T4A พก. และท้องถิ่น
สถานีปากน้ำน่าเป็นห่วง ลงสถานีแล้วเดินทางไม่สะดวก เกี่ยวกับการเดินทางต่อ เช่น ที่จอดรถของคนพิการ ต้องใช้ได้จริงทั้ง 5 ประเภท กรณีที่เด็กพิการรุนแรงขอใช้ที่จอดรถ
คุณซาบะ ในโครงการพื้นที่อนุสาวรีย์ เล่าแนวคิดที่จะทำเพื่อมีแนวสนับสนุน การมีผู้สูงอายุในกรุงเทพ ครึ่งหนึ่งจำนวนคนทั้งหมด การทำงานในตอนนี้เพื่อคนทุกคน ในการประเมินกับ พก. เพื่อสร้างมาตรฐานให้ได้ดีที่สุด อยากจะสร้างมาตรฐานที่สูงมาก ๆ ในแต่ละพื้นที่อยากให้เปิดรับความคิดเห็นสถานที่สาธารณะด้วย หรือลงความคิดเห็นผ่านระบบออนไลน์ กังวล มีมาตรฐานสูงและมี มาตรฐานเดียว เชื่อมั่นว่าทุกเขตต้องซิงค์กันเพื่อเกิดมาตรฐานเดียว ปัญหา คือเห็นภาพจาก glogle อยากให้ 5 ย่านเป็นพื้นที่ต้นแบบทำทีเดียวแล้วใช้ได้นาน และได้เคยเข็นรถวิลแชร?จาก พก. ถึงอนุเสาวรีย์ การสร้างพื้นที่ตัวอย่าง มาตรฐานที่ดีที่สุด
– กระทรวงคมนาคม เสริมทุกอย่างที่แจ้งมา 5 ย่านคือต้องมี สิ่งที่เจอก็คือคนทั่วไปก็เดินทาง กทม.ต้องทกหน้าที่ของประชาชน เช่นการเดินทางให้เข้าถึงได้ของรถไฟฟ้า การเดินเข้าห้าง การทำให้ยุติกระจุกให้เกิดความกระจาย ผู้ป่วยและคนพิการไม่สามารถเดินทางขึ้นรถโดยสารได้ สิ่งที่ช่วยได้เร็วคือ การทำฟีดเเอร์ ผู้ป่วยลงรถไฟฟ้าเพื่อเดินทาง ต้องมีระบบฟีดเดอร์รองรับ ทำอย่างไรให้มีการปรับUD ทำไมสามารถเดินได้ไม่เหนื่อย ทางเท้าต้องเรียบ การออกแบบต้องมีต้นไม้สำหรับคนเดินอย่างไร การขับเคลื่อน
– สอบถามเรื่องงบประมาณต้องใช้งบประมาณส่วนไหน หรือนักวิเคราะห์เรื่องสิ่งแวดล้อม คำนวณแล้วเศรษฐกิจจะดีขึ้น ถ้าอยู่ดีกินดีลงทุน ก็ควรลงทุน
– นายสุทัศน์ ปึงศิริพัฒนา ประสบการณ์ตรง เดินสกายวอลต์ เดินเชื่อมต่อห้างต่าง ๆ หรือเชื่อมโรงพยาบาลรอบอนุสาวรีย์ได้ รวมถึง พก. ถ้ามีสกายวอล์ก รอบพก. รณรงค์ให้หน่วยงานสำคัญมีแนวร่วม
– นายจีรทวัตร เพจรักเมืองไทย เรื่องฟุตบาท ในปัจจุบันสร้างถนนให้กว้างแล้วทำฟุตบาทเล็กลงและในต่างประเทศสร้างฟุตบาทให้ใหญ่ เพื่อพัฒนาเมือง การฟุตบาทได้ดี สกายวอล์ก็ไม่จำเป็น
– นักรบ 5 โครงการอยู่ ย่านรัชดา หน่วยงานไหนจะช่วยประสานงาน
– นายชีวานนท์ พรรัตน์ธนิกกุล นายกสมาคมสหพันธ์แรงงานคนพิการไทย การจ้างงานคนพิการ สิ่งสำคัญจำเป็นการเดินทางเพื่อไปทำงาน จ้างเงินเดือนจากค่าแรงขั้นต่ำ ส่วนใหญ่เดินทางด้วยแท๊กซี่เป็นส่วนใหญ่ การทำงานได้แล้วต้องเดินทาง เพื่อทำงาน การเดินทาง ขอเข้าร่วมในส่วนย่านปากน้ำ เมืองท่องเที่ยวที่ดีต้องเดินทางที่ดี การออกแบบไม่ควรบดบังทัศณียภาพ ควรมีป้ายสัญลักษณ์ ที่สมบูรณ์แบบ 30 เซ็นติเมตร x 30 เซ็นติเมตร เสริมป้ายสัญญลักษณ์เพิ่มโลโก้คนพิการเพื่อตระหนักมากขึ้น
– เรื่องเบลบ๊อก ในเรื่องข้ามถนนเพิ่มเดินข้ามถนน สามารถทำบนถนนได้ก็เป็นประโยชน์สำหรับคนพิการ
– ทางม้าลาย ไม่จำเป็นต้องเป็นสีเดียวเพิ่มโลโก้คนพิการ
– สุภาพร ทางuddt มีส่วนเกี่ยวเนื่องโครงการ ผังการออกแบบ ปี 50 ออกแบบเพื่อปรับ ในส่วน ราชวิถี
– ชุมเขต จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เห็นแผนเปลี่ยนเมือง เสนอทางโครงการ ช่วยสร้างกลไกและระบบเพื่อดำเนินงานที่ชัดเจน เช่น นนทบุรี สมุทรปราการ ต้องให้ผู้ว่าราชการแต่ละจังหวัดเชื่อมในแต่จังหวัด ผู้นำแต่ละจังหวัดก็สำคัญ มาตรฐานเรื่องอธิบดีกรมโยธา การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของเรื่องนี้ ได้ฟังถอดบทเรียนย่านราชประสงค์ สิ่งที่ฝาก เรื่องถอดบทเรียน UDDC ได้มีการถอดบทเรียนมาแล้ว มีการประชุมกี่ครั้ง การกำหนด สรุป ฟันธง ต้องตั้งระยะสั้น ระยะยาว มหาวิทยาลัยมีส่วนการจัดการชุมชน มหาลัยมาร่วมได่อธิการบดีของมหาวิทยาลัย การเข้าให้ถูกจุด และมีการตกลงไปด้วยกันโดยไม่เกิดความขัดแย้ง เป้าหมายชัด ทำให้การทำงานดีขึ้น ได้รับโจทย์จาก พก. ในส่วนกรมประชาสงเคราะห์ เพื่อเข้าร่วมเพื่อการเท่าเทียม
– นายภพต์ ในเรื่องปรับคือสายสีม่วงสำคัญที่จะดูแลทุกฝ่าย ผู้ว่าแต่ละจังหวัดเป็นประธาน และพระ หลวงพ่อช่วยคลีคลายปัญหา เพราะเป็นที่น่าเคารพนับถือ การทำทางลาดอย่างดี วินมอเตอร์ไซต์ ต้องปรับทัศนะคติ มีการปรับเสริมหรือล๊อคล้อ
– นายคำสิงค์ สมุทรปราการมีรถไฟฟ้าใช้เมื่อสมุทรปราการ เครือข่ายการมีส่วนร่วมกับคนทุกคนอยู่แล้ว ต้องสร้างความเข้าใจกับประชาชน หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบโดยตรง กรมโยธา ผังเมือง การปะปา มีวิธีการอย่างไรให้หน่วยงานหลัก ๆ เพื่อเคลียร์ปัญหาทั้งหมด เพื่อแก้ไข และความร่วมมือ แต่ถ้าหน่วยงานภาครัฐให้ความเข้มแข็งและให้ความสำคัญกับคนพิการ สำคัญที่กำกับรับผิดชอบโดยตรงเข้ามามีส่วนร่วม
– ต้องมีการทำผังแม่บท หรือการทำปังเฉพาะพื้นที่ เพื่อทำในส่วนไหน สถานีรถไฟฟ้า ติวานนท์ มีย่านอาหารเก่า ๆ ที่คนในท้องถิ่นแม่น้ำเจ้าพระยาอาคาร
– สำนักการจราจร ในส่วนท้องถิ่นก็หลายหน่วยงาน หลัก ๆ ไม่ได้ดูแลทางเท้า เฝแต่ตรงเสาอย่างอื่นเป็นส่วนของเรา การก่อสร้างถนนของรฟม. อนาคตจะมีการย้ายป้ายหรือเสาสัญญาณไฟ ต้องมีการประสานอีกครั้ง การปรับปรุงสัญญาณไฟ ย่ายโชคชัย 4 สามารถดำเนินการได้ ทางเท้าเป็นสำนักการโยธา
– รัชดาสายสีน้ำเงิน และสายสีส้มตัดผ่าน การดำเนินในรัชดาภิเษก จะไปกระทบโครงสร้างงานสายสีส้ม ในอนาคตรถไฟฟ้าสายสีส้มเป็นแบบไหน ถ้ามีเอกชนพร้อมจะลงทุนเพื่อผลประโยชน์ กทม.น่าจะอนุญาต การทำงานต่อรถไฟฟ้าใต้ดิน
– อนาคตรูปแบบในการดำเนินงานคืบหน้า เรื่องการติดตั้งลิฟต์ ให้วิลแชร์เดินทางได้ และผลักดันในเรื่องออกจากหน้าบ้านเพื่อขึ้นรถโดยสารได้ ใช้ชีวิตได้ปกติมากที่สุด การเดินทางและเส้นทางเพื่อวนเป็นลูบ ยังไม่รับปากในเรื่องผลักดัน
– กำหนดหน่วยงานเรื่องการดำเนินงาน การเดินงานให้ดีจะทำอย่างไร คนพิการต้องผลักดันเป็นหลัก
– ประเด็นปัญหาเดินทางพื้นราบ รถแท๊กซี่ ปฏิเสธคนพิการร่างกายวิลแชร์ อาจารย์ที่เก่งแอฟฟิเคชั่นในเรื่องทราบเรื่องรถโดยสารสาธารณะ มีแอฟแสดงเรื่องรถเมย์ชานต่ำมา
– สิริรัช อ่อนสไหว พก.ยินดีพร้อมเข้าร่วมทุกส่วน และมีคณเอนุกรรมการขนส่งมวลชน ไม่ได้ประชุม เนื่องจากอธิบดีหลัก เป็นกรรมการเชิญประชุมยากเลยไม่ได้ประชุม
– การเข้าถึงอาคารสถานที่เป็นมิตรสำหรับคนพิการ ต้องมีการรณรงค์ในเรื่องเจตคติ ต้องดูเรื่องต้นทาง กลางทาง ปลายทาง และมีการปรับพรบ.คนพิการ รอผ่านกฤษฎีกา พก.ขอเป็นทั้งหลักและร่วม ขอให้ส่วนทำงานหลักนำเข้าร่วม
– สรุป
– ข้อแนะนำ การทำงานเชิงระบบ ผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรีเพื่อขับเคลื่อนได้บ้าง
– การขับเคลื่อนทิศทางและวิธีและสิ่งที่ทำได้จริงและได้ทำได้ก่อน
– คือทำและสามารถขับเคลื่อนได้เร็ว ส่วนเร่งด่วนก่อนก็ทำก่อน เดืนหน้าได้ก่อนก็เคลื่อนงาน
– ขอความร่วมมือคนพิการในพื้นที่มีช่องทางให้มีการดำเนินการได้เร็ว